This is default featured slide 1 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.

This is default featured slide 2 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.

This is default featured slide 3 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.

This is default featured slide 4 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.

This is default featured slide 5 title

Go to Blogger edit html and find these sentences.Now replace these sentences with your own descriptions.

วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

Learning Log

( ครั้งที่ 1 )                                                            

การออกข้อสอบโดยใช้ Microsoft word
 
      อาจารย์ฝึกให้ออกข้อสอบโดยใช้Microsoft word จากปุ่มนักพัฒนา ซึ่งการออกแบบข้อสอบที่อาจารย์สอนมีทั้ง มีทั้งข้อสอบแบบเติมคำในช่องว่าง และข้อสอบแบบเลือกตอบ ซึ่งเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่ แต่สามารถเข้าใจง่าย ข้อดีของการออกข้อสอบแบบนี้มีข้อดีคือ เราสามารถป้องกันเอกสาร เพื่อไม่ให้ใครแก้ไขข้อสอบของเราได้

                                                                                                          วันที่ 27 มิถุนายน 2555

 ( ครั้งที่ 2 )

การสร้าง Blog
       การสร้าง blog เริ่มจากการสมัคร blog จากนั้นอาจารน์ก็สอนให้เปลี่ยน template และการเพิ่ม gadget ต่างๆ เช่น นาฬกา ปฎิทิน ตัวนับ จากนั้นอาจารย์ก็ให้ฝึกเพิ่ม gadget ต่างๆ เช่น การเพิ่ม วิดีโอ ต่างๆ

วันที่ 4 กรกฏาคม 2555

( ครั้งที่ 3 )
การสร้าง Story board
       อาจารย์สอนเรื่องการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยการใช้โปรแกรม Adobe Captivate 5 โดยเริ่มจากการสร้างหน้าต่างๆของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามที่เราเขียนไว้ใน Story board และการตั้งค่าต่างๆ ในแต่ล่ะสไลด์ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมทั้งการเพิ่มเสียงต่างๆ

วันที่ 18 กรกฎาคม 2555

( ครั้งที่ 4 )
การสร้าง CAI 
        วันนี้อาจารย์สอนเรื่องการออกแบบข้อสอบแบบ multiple choice โดยมีวิธีการทำที่มากมาย และซับซ้อนแต่เมื่อเรียนแล้วก็ไม่ยากอย่างที่คิด 
วันที่ 25  กรกฎาคม 2555

( ครั้งที่ 5 ) 
การสร้าง CAI ( การสร้างข้อสอบแบบ True / false และ matching )
       วันนีอาจารย์สอนเรื่องการออกข้อสอบแบบ True / False และ Matching กับโประแกรม Adobe Captivate 5 ในการสร้างข้อสอบทั้งสองแบบนี้จะมีลักษณะที่แตกต่างกัน แต้่จะมีวิธีการตั้งค่าที่คล้ายๆกัน เพราะฉะนั้นจึงไม่ค่อยจะยากสักเท่าไร ทำให้การเรียนในวันนี้ไม่ยากและสนุกไปด้วย

วันที่ 1 สิงหาคม 2555

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Applying Innovative Spirit to Multimedia Foreign Language Teaching

                          การประยุกต์นวัตกรรมลงในสื่อเพื่อใช้สอนภาษาต่างประเทศ

     ในปัจจุบันผู้นส่วนใหญ่ เน้นให้เด็กศึกษาด้วยตนเอง ในขณะที่สถานศึกษาก็ถูกาดหวังให้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการเรียนการสอน แม้แต่การเรียนภาษาต่างประเทศเองก็ตาม แต่สื่อเหล่านี้ช่วยให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษดีขึ้นหรือไม่  

                            แนวคดเกี่ยวกับการสอนโดยใช้สื่อและนวัตกรรมทางการศึกษา

           การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในสมัยก่อนนั้นจะขึ้นอยู่กับครู นักเรียน ชอล์ก กระดานดำ และเทป ในขณะที่การสอนโดยใช้สื่อนั้นครุ นักเรียน คอมพิวเตอร์ และบทเรียนนั้นจะไม่ค่อยมีบทบาทเท่าไร

สรุป
           การสอนภาษาอังกฤษรูปแบบใหม่ ยังต้องรอพิสูจน์ไปอีกสักพัก แต่ทั้งนี้รูปแบบของ
มันเองก็ประบลสำเร็จไประดับหนึ่ง ทั้งนี้ยังต้องขึ้นอยู่กับตัวผู้สอน นักเรียน และสื่อนวัตกรรมนั้นเอง

On The Problems and Strategies of multimedia Technology in English Teaching

     ในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นยุคโลกาภิวัตน์ ทางวิทยาศาสตร์ที่มีการพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วและเทคโนโลยีเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ การพัฒนาของเทคโนโลยีมัลติมีเดียกับการประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน รูปแบบการสอนแบบดั้งเดิมไม่เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษร่วมสมัย เทคโนโลยีมัลติมีเดียจึงมีเสียง,ภาพ,ภาพเคลื่อนไหวมาเต็มรูปแบบในการเรียนการสอนในชั้นเรียนภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีจึงมีบทบาทในการส่งเสริมคสวามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของนักเรียน อีกทั้งยังช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากขึ้น

ความจำเป็นของการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ
     A. การปลูกฝังความสนใจของนักเรียน
ในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการสอนที่ล้าสมัยและสภาพแวดล้อมที่่จำเจ ในขณะที่เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีระบบเสียง,ภาพ,ภาพเคลื่อนไหว ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียนทำให้ได้รับข่าวสารที่มากขึ้นและสืบค้นข้อมูลได้เป็นอย่างดีทำให้นักเรียนมีส่วน่วมในกิจกรรมการเรียน

     B. ส่งเสริมความสามารถการสื่อสารของนักเรียน
การเรียนการสอนแบบเก่าๆเป็นปกติที่จะทำให้นักเรียนเข้าใจตัวภาษา ยากที่จะบรรลุเป้าหมายในการสื่อสารกับครูที่ให้คำแนะนำกับนักเรียนรุปแบบการคิดและการสร้างแรงจูงใจของนักเรียน, เทคโนโลยีมัลติมีเดียได้ช่วยส่งเสริมความต้องการของผู้เรียน บูรณาการการเรียนการสอนและให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจมากขึ้น

     C. เพื่อขยายความรู้ของนักเรียนเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งถึงวัฒนธรรมตะวันตก แผ่นดิกส์ มัลติมีเดียสาามรถนำเสนอข้อมูลของนักเรียนได้มากมายมีการครอบคลุมภาษาอังกฤษ มัลติมีเดียกว้างไกลกว่าตำราด้วยเนื้อหาและวัสดุมีชีวิตจริงซึ่งมีมากตามธรรมชาติและใกล้กับชีวิต ผู้เรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการฟังของพวกเขา และยังได้เรียนรู้วัฒนธรรมตะวันตก การเรียนรู้ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆสามารถจัดให้นักเรียนมีความรู้และนำมาเกี่ยวกับข้อมมูลร่วมกันในหมู่นักศึกษาและทำให้พวกเขามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียนและการสื่อสาร

     D. การปรับปรุงผลการียนการสอน เสริมสร้างการเรียนการสอนมัลติมีเดียการเรียนการสอนเนื้อหาและรูปแบบการแบ่ง "ครูเป็นศูนย์กลาง" การเรียนการสอนและพื้นฐานการปรับปรุงประสทธิภาพการเรียน เป้นเรื่องธรรมดามากที่นักเรียนของพวกเรามีชั้นเรียนภาษาอังกฤษในห้องเรียนขนาดใหญ่มากยังหนาแน่น ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นเรื่องยากสำหรับนักเรียนที่จะมีการพูดสื่อสาร รูปแบบการสอนแบบดั้งเดิมส่วนใหญ่เน้นการเรียนการสอนเกี่ยวกับครุและให้ข้อมูลที่ถูกจำกัด สภาพแวดล้อมที่แท้จริงสำหรับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจะช่วยกระตุ้นความคิดริเริ่มของนักเรียนและประหยัดเวลาในชั้นเรียน

การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ
  A.ความหมายหลักแทนที่ด้วยการช่วยเหลือแบบหนึ่ง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติทีเดียเป็นเครื่องมือที่ให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้บรรลุผลการเรียนการสอนที่คาดการณ์ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์มัลติมีเดียในนระหว่างการเรียนการสอนครูผู้สอนมากเกินไปทำให้ครูไม่มีบทบาทในการสอน ในทางปฎิบัติของครุมีการใช้งานในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อให้พวกเขามีส่วนร่วมมากขึ้นในการค้นหาข้อมูลและการทำงานนอกบทเรียนที่พวกเขาใช้คอมพิวเตอร์ นักเรียนจะสนใจบนหน้าจอของพวกเขาเท่านั้น ดังนั้นครูและนักเรียนจึงไม่มีการสื่อสารด้วยสายตาระหว่างกัน ด้วยเหตุนี้ความคิดของการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ควรจะเข้าใจอย่างเต็มที่ว่าด้วยความช่วนเหลือของคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนครูควรจะใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ หลักสูตรทางด้านวิชาการและวัสดุการเรียนการสอนที่จะหาวิธีการ ความรู้ของนักศึกษาเราได้รับข้อมูลมัลติมีเดียควรจะน้อยลง เน้นที่โดดเด่นและนวัตกรรมใหม่ในการเรียนการสอน
      B. สูญเสียการสื่อสารโดยการพูด การใช้สื่อมัลติมีเดียมากเกินไปทำให้ขาดปฎิสัมพันธ์ในชั้นเรียนและส่งผลให้ขาดการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียน เสียงของรูจะถูกแทนที่ด้วยเสียงของคอมพิวเตอร์
     C. ทำให้ความสามารถในการคิดน้อยลง การคิดและการชื่นชมในความสวยงามของภาษาอาจจะทำให้บรรยากาศของการเรียนเรียกว่า เรียนอย่างมีความสุขมันไม่เกิด เพราะฉะนั้นถึงแม้ว่ามัลติมีเดียจะมีบทบาทที่ดีในการเรียนการสอน แต่จุดประสงค์สำคัญของการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนได้คิด ซึ่งคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ต่างๆ ไม่สามารถที่จะแทนที่กระบวนการคิดของผู้เรียนได้
       D. ความคิดนามธรรมจะถูกแทนที่ด้วยความคิด Imaginal การสอนแบบดั้งเดิมเมื่อครุต้องการเล่าเรื่องครูจะสอนอะไร มันไม่มีมัลติมีเดียครูต้องอธิบายให้นักเรียนคิดจินตนาการตามไปว่าสิ่งนั้นคืออะแต่มัลติมีเดียปัจจุบันการเรียนการสอนง่าย ทุกอย่างเห็นภาพชัดเจน ความสามารถในการอ่านของผู้เรียนก็จะถุกแทนที่ด้วยเสียงจากซีดีหรือจากคอมพิวเตอร์ ดารเขียนของผู้เรียนถูกแทนที่ด้วยคีย์บอร์ดในการพิมพ์ เมื่อไหร่ก็ตามที่ใช้มัลติมีเดียให้สถานการณ์ก็จะเลวร้ายไปกว่าเดิม
       มัลติมีเดียเป็นเครื่องมือที่ให้ความช่วยเหลือไม่สามารถแทนที่บทบาทที่โดดเด่นของครูผู้สอนและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณ์ นอกจากจะไม่เลียนแบบช่างการเรียนการสอนค่อนข้างจะรวมภาพต้นฉบับเดิม ประสบการณ์มนการสนันสนุนโครงการการเรียนการสอนโปรแกรมอัตโนมัติและต่อเนื่องเพื่อมเพิ่มการปรับปรุงโดยรวมของนักเรียน การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

       ข้อเสนอแนะและวิธีในการแก้ปัญหาที่มีอยู่
    A.ความสวยงามของบทเรียน เราต้องมีการกระตุ้นให้มีการสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียนและพัฒนาทักษะการ ฟัง พูด ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเติมเต็มตรงนั้นได้ เพราะฉะนั้นการแปลหรือฝึกตีความของครูยังจำเป็นในการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำทุกอย่างได้ครูต้องช่วยอธิบายเพิ่มเติมด้วย นอกจากนี้มัลติมีเดียใช้ได้แต่ใช้เป็นตังช่วยครูให้มีประสิทธิภาพในการสอนมากยิ่งขึ้น เพราะถ้าไม่ฉะนั้นแล้วครูก็เป็นเพียงแค่คนกำกับเท่านั้น
    B.หน้าจอคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทดแทนกระดานดำ  เพราะกระดานดำเราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา ซึ้งการเรียนการสอนเด็กต้องมีคำถามที่ไม่คาดคิดอยู่ตลอดเวลา ถ้าใช้กระดานดำครูสามารถเขียนอธิบายแก้ไขเพิ่มเติมได้ เพราะฉะนั้นอย่าใช้แต่จอคอมพิวเตอร์
     C. PowerPointไม่สามารถใช้ในการแยกความคิดได้และปฎิบัติได้ ปัจจุบันมัลติมีเดียส่วนใหญ่มีบทเรียนเกี่ยวกับภาพและภาพเคลื่อนไหวจากสื่อ การสอนก่อให้เกิดผลกระทบให้นักเรียนไม่ได้เกิดการคิด อภิปรายบทเรียนต้องทันสมัยใช้แต่ PTT การตั้งคำถามของครูในการเข้าสู่บทเรียนยังจำเป็นและเป็นการกระตุ้นนักเรียนอีกด้วย
     D. เครื่องมือการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมไม่ควรมองข้าม มัลติมีเดียให้ความช่วยเหลือในการเรียนการสอนไม่สามารถแทนที่ด้วยเครื่องมืออื่นๆ อีกมากมาย ดังนั้นครูควรจะเลือกสื่อที่เหมาะสมตามความต้องการของการสอนและบูรณาการทีใช้มัลติมีเดียที่มีอย่างเต็มที่ในการแสวงหาวิธีที่ทันสมัย
     E. เทโนโลยีมัลติมีเดียไม่ควรมีมากเกินไป เพราะถ้าใช้มากเกินไปจะทำให่้เด็กสนใจแต่ที่จริงแล้วเด็กๆนั่งดูเฉยๆ และเด้กก็ไม่ได้เกิดการเรียนรู้
      สรุป: สื่อมัลติมีเดียนั้นใช้ได้เหมือนกันแต่ต้องทำให้มันเป็นแค่ตัวช่วยของครุเท่านั้น ส่วนหน้าที่หลักในการจัดการห้องเรียนจะเป็นของครูที่มีชีวิตจริงๆซึ่จะเป็นการดีกว่า

วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Asynchronous and Synchronous Tool


Asynchronous and  Synchronous Tool

Asynchronous Tools
     Asynchronous tools enable communication and collaboration over a period of time though a "different time different place" mode. These tools allow people to connect together at each person's own convenience and own schedule. Asynchronous tools are useful for sustaining dialogue and collaboration over a period of time and providing people with resources and information that are instantly accessible, day or night. Asynchronous tools possess the advantage of being able to involve people from multiple time zones. In addition, Asynchronous tools are helpful in capturing the history of the interactions of a group, allowing for collective knowledge to be more easily shared and distributed. The primary drawback of asynchronous technologies is that they require some discipline to use when used for ongoing communities of practice (e.g., people typically must take the initiative to "login" to participate) and they may feel "impersonal" to those who prefer higher-touch synchronous technologies

Synchronous tools 
     Synchronous tools enable real-time communication and collaboration in a "same time-different place" mode. these tools allow people to connect at a single point in time, at the same time. Synchronous tools possess the advantage of being able to engage people instantly and at the same point in time. The primary drawback of synchronous tools is that, by definition, they require same-time participation-different time zones and conflicting schedules can create communication challenges. In addition, they tend to be costly and may require significant bandwidth to be efficient

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Exercise 1

Directions: Find the words or phrases standing for the following acronyms with short descriptions.

IT = Information Technology หมายถึงเทคโนโลนีสำหรับการระมวลผลสารสนเทศ ซึ่งคลอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล และการค้นหาสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื้นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่มย่อยเป็นสามกลุ่ม 3 ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสื่อสาร และข้อมูลแบบมัลติมีเดีย

ICT = Information Communication technology เทคโนโลยีทั้งหลาย (โดยมีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นหลัก) ที่ทำหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูล ได้แก่ การนำข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล ให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ และเผยแพร่ต่อไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ ให้สามารถได้ใช้อย่างถูกต้อง ตรงและทันกับความต้องการ เราสามารถใช้ติดต่อสื่อสารหาข้อมูล ความรู้ในการศึกษากับสถาบันทั้งในและต่างประเทศได้ เพื่อหาความรู้และโลกทัศน์ใหม่ๆได้

CAI = computer assisted Instruction คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยมีกำหนดให้ผู้เรียนสามารถตอบโต้หรือปฎิสัมพันธ์กับการเรียนได้เช่นเดียวกับการเรียนในห้องเรียนกับครู เพียงแต่มีความยืดหยุ่นน้อยกว่าเท่านั้น


CALL = Computer-assisted Language Learning หมายถึงโปรแกรมช่วยเรียนภาษาโดยเฉพาะ ใช้ได้ทั้งกับการเรียนในห้องเรียน โดยมีครผู้สอนควบคุมดูแลกระบวนการเรียน และการให้ผู้เรียนเรียนจากโปรแกรมด้วยตนเองที่ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self access learning center) หรือที่ศูนย์คอมพิวเตอร์และสำหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อมก็อาจมอบแผ่นโปรแกรมให้ผุ้เรียนนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์นอกสถานศึกษาโดยผ่านโมเด็มและสายโทรศัพท์


WBI = Web-based Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนในรูปแบบของ Web Knowledge based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา หรือดำเนินกจกรรม หรือที่เรานิยมเรียกกันติดปากว่า"การเรียนการสอนแบบ Online " นั้นเอง


CBI = Computer-Based Instruction คือการนำคอมพิวเตอร์ มาใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนการสอน การลงทะเบียน การจัดทำบัตรนักศึกษา การจัดทำผลการเรียนการสอนรวมไปจนถึงการออกใบรับรองการจบหลักสูตร


CMC = Computer Mediated Communication คือกลุ่มสื่อสารกันของมนุษย์โดยอาศัยระบบคอมพิวเตอร์เป็นตัวเชื่อมโยงการปฎิสัมพันธ์กันระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ซึ่งมีหัวใจสำคัญคือ การใช้ตัวอักษร (Text-Messaging) หรือภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของบุคคลหรือกลุ่มนั้นๆ


Reference : http://www.edu.nu.ac.th/wbi/355522/wbi/wbi_mean.asp
                  http://www.siit.tu.ac.th/thai/it.html

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2555

"My self"




My name is Kanjanaporn Thomard.
You can call me Ra.
I'm student in Faculty of Education,Nakhon Si Thammarat University.
English 02 Student Code 5311114064